ตรวจคัดกรองโรคไตและปัจจัยเสี่ยงในการเกิดโรคไต

“โรคไต” คือหนึ่งในสาเหตุการเสียชีวิตก่อนวัยอันควร เนื่องจากไตเป็นอวัยวะที่สำคัญในการปรับสมดุลน้ำและเกลือแร่ในร่างกาย นอกจากนี้ยังเป็นอวัยวะที่ช่วยกำจัดสารเคมีรวมถึงยาที่เข้าสู่ร่างกาย ถ้าไตไม่ทำงานและไม่ได้รับการรักษา ก็ดำเนินชีวิตต่อไปไม่ได้ ผู้ป่วยโรคไตระยะแรกมักไม่แสดงอาการผิดปกติ จึงทำให้สูญเสียโอกาสสำคัญในการรักษา การตรวจคัดกรองโรคไตจึงเป็นเรื่องสำคัญ   เหตุผลที่ควรทำการตรวจคัดกรองโรคไต โรคไตสามารถป้องกันได้ การตรวจเช็คเพื่อประเมินปัจจัยเสี่ยงในการเกิดโรคไตและประเมินสุขภาพไตเป็นการป้องกันก่อนการเกิดโรค ซึ่งย่อมดีกว่าการรักษาโรคไตในระยะแรกมักไม่แสดงอาการผิดปกติ หลายคนจึงไม่ได้มาตรวจ และทำให้สูญเสียโอกาสสำคัญในการรักษาตั้งแต่ระยะต้นๆ การรักษาโรคไตให้ดีตั้งแต่แรกสามารถชะลอความเสื่อมของไตได้ดีกว่าการรักษาเมื่อโรคเข้าสู่ระยะรุนแรงแล้ว การชะลอความเสื่อมของไตตั้งแต่ระยะต้น จะทำให้ความจำเป็นในการฟอกเลือดหรือบำบัดทดแทนไตเกิดขึ้นช้ากว่า ก่อนจะสายเกินไป คุณจึงควรตรวจเช็คเพื่อประเมินปัจจัยเสี่ยงในการเกิดโรคไต และประเมินสุขภาพไตแม้ไม่มีอาการ โดยเฉพาะถ้าคุณเป็นบุคคลในกลุ่มเสี่ยง ดังนี้ ผู้ป่วยโรคเบาหวาน ผู้ป่วยความดันโลหิตสูง ผู้ป่วยที่มีประวัติคนในครอบครัวเป็นโรคไตเรื้อรัง ผู้ป่วยที่มีอายุมาก ผู้ป่วยที่มีน้ำหนักเกินหรืออ้วน ผู้ป่วยที่สูบบุหรี่หรือมีประวัติสูบบุหรี่มาก่อน   ก่อนทำการตรวจด้วย Package นี้ ท่านต้องเตรียมตัวดังนี้                                                                                 งดอาหารและเครื่องดื่ม 12 ชั่วโมง (สามารถดื่มน้ำเปล่าได้ตามปกติ)                  งดเครื่องดื่มที่มีส่วนผสมแอลกอฮอล์ทุกประเภท อย่างน้อย 24 ชั่วโมง กรณีที่ท่านต้องรับประทานยาลดความดันโลหิตสูงเป็นประจำ สามารถรับประทานยาได้ตามปกติ กรุณามาก่อนเวลานัด 2 ชั่วโมง เพื่อทำการส่งตรวจเลือดและปัสสาวะ   โปรแกรมตรวจคัดกรองโรคไต ตรวจอะไรบ้าง ตรวจร่างกายและสรุปผลการตรวจจากอายุรแพทย์ (Nephrologist) ตรวจเลือดดูการทำงานของไต […]

การผ่าตัดริดสีดวงทวาร

การผ่าตัดริดสีดวงทวาร คือ ? การผ่าตัดริดสีดวงทวาร คือ วิธีการรักษาผู้ป่วยที่เป็นโรคริดสีดวง ในระยะที่ติ่งเนื้อยื่นบริเวณทวารหนักและไม่สามารถดันกลับเข้าไปด้านใน ซึ่งแพทย์จะผ่าตัดเส้นเลือดที่ติ่งเนื้อเพื่อทำให้เนื้อเยื่อยุบลง ปัจจุบันการผ่าตัดริดสีดวงทวารมีหลากหลายวิธีมากขึ้น ซึ่งปัจจุบันมีการนำเทคโนโลยีใหม่ให้ผู้เข้ารับการรักษามีแผลผ่าตัดน้อยและเจ็บน้อยลง   ปัจจัยที่ทำให้เกิดริดสีดวง สุขลักษณะนิสัยการขับถ่ายที่ผิดปกติ เช่น ท้องผูก หรือ ท้องเสีย การเสื่อมลงของเส้นเลือดและกล้ามเนื้อในผู้สูงอายุ การรับประทานอาหารที่มีเส้นใยน้อย หญิงตั้งครรภ์ทำให้ถ่ายอุจจาระไม่สะดวก  อุปนิสัยการเบ่งอุจจาระอย่างมากเพื่อพยายามขับอุจจาระก้อนสุดท้ายให้ออกไป ชอบใช้ยาสวนอุจจาระ หรือยาระบายพร่ำเพรื่อ ภาวะโรคตับแข็งทำให้เลือดดำไหลเข้าตับไม่ได้ ส่งผลให้เส้นเลือดดำบริเวณทวารหนักโป่งพอง การเพิ่มของความดันภายในช่องท้องเป็นเวลานาน เช่น การยกของหนักเป็นประจำ เป็นต้น   ภาวะแทรกซ้อน เลือดออก อาจจะทำให้เกิดภาวะโลหิตจาง หรือภาวะขาดเลือดจนความดันโลหิตต่ำ ซึ่งจะส่งผลให้ผู้ป่วยมีอาการอ่อนเพลีย ได้ ลิ่มเลือดอุดตันในหัวริดสีดวงทวาร ติ่งเนื้อริดสีดวงเป็นก้อนเพราะมีก้อนเลือดอุดตันจับตัวกันเป็นก้อนอยู่ภายใน จึงทำให้ผู้ป่วยมีอาการเจ็บปวด การบีบรัดของรูหูดทวารหนัก ทำให้เกิดภาวะขาดเลือดในหัวริดสีดวง เมื่อติ่งเนื้อไม่มีเลือดมาเลี้ยงบริเวณนั้นจะทำให้เกิดภาวะขาดเลือดและเกิดการหดตัวของหูรูดทวารหนักจนเกิดอาการบวม อักเสบ และเน่ามีกลิ่นเหม็น   การผ่าตัดริดสีดวงเหมาะสำหรับใคร การผ่าตัดริดสีดวง ส่วนมักจะผ่าตัดรักษาโรคริดสีดวงในชนิดรุนแรงมีติ่งเนื้อยื่นออกมา ซึ่งเหมาะกับกลุ่มผู้ป่วย ดังนี้ –ผู้ป่วยที่เป็นโรคริดสีดวงภายในระยะที่ 3   – ผู้ป่วยที่เป็นโรคริดสีดวงภายในระยะที่ 4 […]

โปรแกรมส่องกล้องโรคระบบทางเดินอาหาร

ส่องกล้องทางเดินอาหารและลำไส้ 1 ใน 5 โรคร้ายที่คร่าชีวิต ป้องกันวันนี้ โดยแพทย์เฉพาะทาง รพ.เพชรเวชพร้อมดูแล 24 ชั่วโมงด้วยความพร้อม และเทคนิคทางการแพทย์ที่ทันสมัย   หากคุณมีอาการ… ปวดท้องไม่ทราบสาเหตุ ปวดท้องเรื้อรัง   แน่นท้อง อึดอัดท้อง ท้องอืด ท้องเฟ้อ อ่อนเพลีย น้ำหนักลดโดยไม่ทราบสาเหตุ  ท้องผูกสลับท้องเสีย ถ่ายอุจจาระมีเลือดปน อาจจะเป็นสีแดงสดหรือสีคลํ้า  ประวัติครอบครัว ญาติสายตรง ป่วยเป็นมะเร็งระบบทางเดินอาหาร มะเร็งลำไส้ใหญ่   อย่ามองข้าม อาการเหล่านี้ ตรวจวินิจฉัยหาสาเหตุของอาการปวดท้องอย่างตรงจุดด้วยการส่องกล้องกระเพาะอาหาร และลำไส้ใหญ่   ข้อควรปฏิบัติ ก่อนส่องกล้องระบบทางเดินอาหาร ▪ ควรรับประทานอาหารอ่อน เช่น ข้าวต้ม โจ๊ก ▪ งดอาหารที่มีกากใย เช่น ผัก ผลไม้ต่างๆ (3 วัน ก่อนตรวจ) ▪ งดน้ำและอาหารอย่างน้อย 6 ชม. ก่อนตรวจ ▪ […]

โปรแกรมกายภาพบำบัด

ทำไมถึงต้องทำกายภาพบำบัด     เนื่องจากการทำกายภาพบำบัด เป็นการรักษาฟื้นฟูโดยไม่ต้องผ่าตัด และไม่ได้ใช้ยา จึงเป็นการรักษาที่ไม่ได้รับผลข้างเคียง และเป็นการรักษาที่มีประสิทธิภาพ ดังนั้น การทำกายภาพบำบัดจึงเป็นอีกทางเลือกหนึ่ง ที่เหมาะแก่การรักษา และการฟื้นฟูเป็นอย่างยิ่ง   การทำกายภาพบำบัดคืออะไร? กายภาพบำบัด (Physical therapy: PT) เป็นการฟื้นฟู และเสริมสร้างความสามารถในการใช้ร่างกายด้วยเทคนิคต่างๆ เช่น การดึง นวด ประคบ ร่วมกับการบริหารร่างกายสำหรับผู้ที่ได้รับบาดเจ็บ มีอาการปวด หรือได้รับผลข้างเคียงจากอาการเจ็บป่วยจนทำกิจวัตรประจำวันได้ไม่เต็มที่ เทคนิคและวิธีการต่างๆ ของกายทำกายภาพบำบัดจะปฎิบัติตามหลักวิทยาศาสตร์ ซึ่งสามารถแบ่งการทำกายภาพบำบัดได้หลายสายงาน เช่น กายภาพบำบัดระบบกระดูกและกล้ามเนื้อ กายภาพบำบัดด้านระบบประสาท กายภาพบำบัดด้านระบบทรวงอกหลอดเลือดและหัวใจ กายภาพบำบัดด้านกีฬา กายภาพบำบัดในชุมชน งานกายภาพบำบัดด้านอื่นๆ โดยการทำกายภาพบำบัดแต่ละสายงานนี้ ก็จะมีวิธีการทำ อุปกรณ์ และจุดประสงค์แตกต่างกันออกไป ขึ้นอยู่กับผู้ใช้บริการ ซึ่งนักกายภาพบำบัดจะเป็นผู้แนะนำให้นั่นเอง   การทำกายภาพบำบัดช่วยอะไรได้บ้าง? การทำกายภาพบำบัดมีจุดประสงค์หลักเพื่อฟื้นฟูร่างกาย และเสริมสร้างความสามาถในการใช้ร่างกาย เพื่อให้ใช้ชีวิตประจำวันได้ดีขึ้น ดังนั้นการทำกายภาพบำบัดจะมุ่งเน้นที่การบรรเทาอุปสรรคที่ส่งผลต่อการใช้ร่างกายของคุณ อาจมีดังนี้ บรรเทาอาการปวด ป้องกัน หรือฟื้นฟูร่างกายจากการบาดเจ็บ ป้องกันความพิการ หรือลดโอกาสที่จะต้องผ่าตัด ป้องกันการล้มหรือลื่น โดยทำให้ร่างกายมีความสมดุลมากขึ้น […]

Influenza Vaccine วัคซีนไข้หวัดใหญ่

  จากข้อมูลขององค์การอนามัยโลกพบว่าทั่วโลก มีผู้เสียชีวิตจากโรคไข้หวัดใหญ่ ถึงปีละ 250,000 – 500,000 คน ในขณะที่ประเทศไทยมีผู้ป่วยเป็นไข้หวัดใหญ่ในแต่ละปีประมาณ 50,000 คน ในปีที่มีการระบาดมากจะพบได้ถึง 70,000 คน ไข้หวัดใหญ่จะมีอาการรุนแรงกว่าไข้หวัดปกติ ผู้ป่วยโรคไข้หวัดใหญ่จะมีความเสี่ยงต่ออาการโรคประจำตัวกำเริบและภาวะแทรกซ้อน ซึ่งรวมถึงภาวะปอดบวม หลอดลมอักเสบ หรือมีผลกระทบรุนแรงต่อระบบหัวใจ หลอดเลือด และระบบประสาทจนถึงขั้นเสียขีวิตได้ วัคซีนไข้หวัดใหญ่ (Influenza Vaccine) วัคซีนไข้หวัดใหญ่มีอยู่ 2 แบบด้วยกัน คือ วัคซีนไข้หวัดใหญ่ชนิด 3 สายพันธุ์ (เชื้อไวรัสชนิดสายพันธุ์ A 2 สายพันธุ์ และสายพันธุ์ B 1 สายพันธ์) และวัคซีนไข้หวัดใหญ่ชนิด 4 สายพันธุ์ (เชื้อไวรัสชนิดสายพันธุ์ A 2 สายพันธุ์ และสายพันธุ์ B 2 สายพันธุ์) ซึ่งส่วนใหญ่ทางโรงพยาบาลจะแนะนำให้ฉีดวัคซีนป้องกันไข้หวัดใหญ่ชนิด 4 สายพันธุ์ เนื่องจากไวรัสไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ A […]

ตรวจคัดกรองโรคไตและปัจจัยเสี่ยงในการเกิดโรคไต

“โรคไต” คือหนึ่งในสาเหตุการเสียชีวิตก่อนวัยอันควร เนื่องจากไตเป็นอวัยวะที่สำคัญในการปรับสมดุลน้ำและเกลือแร่ในร่างกาย นอกจากนี้ยังเป็นอวัยวะที่ช่วยกำจัดสารเคมีรวมถึงยาที่เข้าสู่ร่างกาย ถ้าไตไม่ทำงานและไม่ได้รับการรักษา ก็ดำเนินชีวิตต่อไปไม่ได้ ผู้ป่วยโรคไตระยะแรกมักไม่แสดงอาการผิดปกติ จึงทำให้สูญเสียโอกาสสำคัญในการรักษา การตรวจคัดกรองโรคไตจึงเป็นเรื่องสำคัญ   เหตุผลที่ควรทำการตรวจคัดกรองโรคไต โรคไตสามารถป้องกันได้ การตรวจเช็คเพื่อประเมินปัจจัยเสี่ยงในการเกิดโรคไตและประเมินสุขภาพไตเป็นการป้องกันก่อนการเกิดโรค ซึ่งย่อมดีกว่าการรักษาโรคไตในระยะแรกมักไม่แสดงอาการผิดปกติ หลายคนจึงไม่ได้มาตรวจ และทำให้สูญเสียโอกาสสำคัญในการรักษาตั้งแต่ระยะต้นๆ การรักษาโรคไตให้ดีตั้งแต่แรกสามารถชะลอความเสื่อมของไตได้ดีกว่าการรักษาเมื่อโรคเข้าสู่ระยะรุนแรงแล้ว การชะลอความเสื่อมของไตตั้งแต่ระยะต้น จะทำให้ความจำเป็นในการฟอกเลือดหรือบำบัดทดแทนไตเกิดขึ้นช้ากว่า ก่อนจะสายเกินไป คุณจึงควรตรวจเช็คเพื่อประเมินปัจจัยเสี่ยงในการเกิดโรคไต และประเมินสุขภาพไตแม้ไม่มีอาการ โดยเฉพาะถ้าคุณเป็นบุคคลในกลุ่มเสี่ยง ดังนี้ ผู้ป่วยโรคเบาหวาน ผู้ป่วยความดันโลหิตสูง ผู้ป่วยที่มีประวัติคนในครอบครัวเป็นโรคไตเรื้อรัง ผู้ป่วยที่มีอายุมาก ผู้ป่วยที่มีน้ำหนักเกินหรืออ้วน ผู้ป่วยที่สูบบุหรี่หรือมีประวัติสูบบุหรี่มาก่อน   ก่อนทำการตรวจด้วย Package นี้ ท่านต้องเตรียมตัวดังนี้                                                                                 งดอาหารและเครื่องดื่ม 12 ชั่วโมง (สามารถดื่มน้ำเปล่าได้ตามปกติ)                  งดเครื่องดื่มที่มีส่วนผสมแอลกอฮอล์ทุกประเภท อย่างน้อย 24 ชั่วโมง กรณีที่ท่านต้องรับประทานยาลดความดันโลหิตสูงเป็นประจำ สามารถรับประทานยาได้ตามปกติ กรุณามาก่อนเวลานัด 2 ชั่วโมง เพื่อทำการส่งตรวจเลือดและปัสสาวะ   โปรแกรมตรวจคัดกรองโรคไต ตรวจอะไรบ้าง ตรวจร่างกายและสรุปผลการตรวจจากอายุรแพทย์ (Nephrologist) ตรวจเลือดดูการทำงานของไต […]

การผ่าตัดริดสีดวงทวาร

การผ่าตัดริดสีดวงทวาร คือ ? การผ่าตัดริดสีดวงทวาร คือ วิธีการรักษาผู้ป่วยที่เป็นโรคริดสีดวง ในระยะที่ติ่งเนื้อยื่นบริเวณทวารหนักและไม่สามารถดันกลับเข้าไปด้านใน ซึ่งแพทย์จะผ่าตัดเส้นเลือดที่ติ่งเนื้อเพื่อทำให้เนื้อเยื่อยุบลง ปัจจุบันการผ่าตัดริดสีดวงทวารมีหลากหลายวิธีมากขึ้น ซึ่งปัจจุบันมีการนำเทคโนโลยีใหม่ให้ผู้เข้ารับการรักษามีแผลผ่าตัดน้อยและเจ็บน้อยลง   ปัจจัยที่ทำให้เกิดริดสีดวง สุขลักษณะนิสัยการขับถ่ายที่ผิดปกติ เช่น ท้องผูก หรือ ท้องเสีย การเสื่อมลงของเส้นเลือดและกล้ามเนื้อในผู้สูงอายุ การรับประทานอาหารที่มีเส้นใยน้อย หญิงตั้งครรภ์ทำให้ถ่ายอุจจาระไม่สะดวก  อุปนิสัยการเบ่งอุจจาระอย่างมากเพื่อพยายามขับอุจจาระก้อนสุดท้ายให้ออกไป ชอบใช้ยาสวนอุจจาระ หรือยาระบายพร่ำเพรื่อ ภาวะโรคตับแข็งทำให้เลือดดำไหลเข้าตับไม่ได้ ส่งผลให้เส้นเลือดดำบริเวณทวารหนักโป่งพอง การเพิ่มของความดันภายในช่องท้องเป็นเวลานาน เช่น การยกของหนักเป็นประจำ เป็นต้น   ภาวะแทรกซ้อน เลือดออก อาจจะทำให้เกิดภาวะโลหิตจาง หรือภาวะขาดเลือดจนความดันโลหิตต่ำ ซึ่งจะส่งผลให้ผู้ป่วยมีอาการอ่อนเพลีย ได้ ลิ่มเลือดอุดตันในหัวริดสีดวงทวาร ติ่งเนื้อริดสีดวงเป็นก้อนเพราะมีก้อนเลือดอุดตันจับตัวกันเป็นก้อนอยู่ภายใน จึงทำให้ผู้ป่วยมีอาการเจ็บปวด การบีบรัดของรูหูดทวารหนัก ทำให้เกิดภาวะขาดเลือดในหัวริดสีดวง เมื่อติ่งเนื้อไม่มีเลือดมาเลี้ยงบริเวณนั้นจะทำให้เกิดภาวะขาดเลือดและเกิดการหดตัวของหูรูดทวารหนักจนเกิดอาการบวม อักเสบ และเน่ามีกลิ่นเหม็น   การผ่าตัดริดสีดวงเหมาะสำหรับใคร การผ่าตัดริดสีดวง ส่วนมักจะผ่าตัดรักษาโรคริดสีดวงในชนิดรุนแรงมีติ่งเนื้อยื่นออกมา ซึ่งเหมาะกับกลุ่มผู้ป่วย ดังนี้ –ผู้ป่วยที่เป็นโรคริดสีดวงภายในระยะที่ 3   – ผู้ป่วยที่เป็นโรคริดสีดวงภายในระยะที่ 4 […]

โปรแกรมส่องกล้องโรคระบบทางเดินอาหาร

ส่องกล้องทางเดินอาหารและลำไส้ 1 ใน 5 โรคร้ายที่คร่าชีวิต ป้องกันวันนี้ โดยแพทย์เฉพาะทาง รพ.เพชรเวชพร้อมดูแล 24 ชั่วโมงด้วยความพร้อม และเทคนิคทางการแพทย์ที่ทันสมัย   หากคุณมีอาการ… ปวดท้องไม่ทราบสาเหตุ ปวดท้องเรื้อรัง   แน่นท้อง อึดอัดท้อง ท้องอืด ท้องเฟ้อ อ่อนเพลีย น้ำหนักลดโดยไม่ทราบสาเหตุ  ท้องผูกสลับท้องเสีย ถ่ายอุจจาระมีเลือดปน อาจจะเป็นสีแดงสดหรือสีคลํ้า  ประวัติครอบครัว ญาติสายตรง ป่วยเป็นมะเร็งระบบทางเดินอาหาร มะเร็งลำไส้ใหญ่   อย่ามองข้าม อาการเหล่านี้ ตรวจวินิจฉัยหาสาเหตุของอาการปวดท้องอย่างตรงจุดด้วยการส่องกล้องกระเพาะอาหาร และลำไส้ใหญ่   ข้อควรปฏิบัติ ก่อนส่องกล้องระบบทางเดินอาหาร ▪ ควรรับประทานอาหารอ่อน เช่น ข้าวต้ม โจ๊ก ▪ งดอาหารที่มีกากใย เช่น ผัก ผลไม้ต่างๆ (3 วัน ก่อนตรวจ) ▪ งดน้ำและอาหารอย่างน้อย 6 ชม. ก่อนตรวจ ▪ […]

โปรแกรมกายภาพบำบัด

ทำไมถึงต้องทำกายภาพบำบัด     เนื่องจากการทำกายภาพบำบัด เป็นการรักษาฟื้นฟูโดยไม่ต้องผ่าตัด และไม่ได้ใช้ยา จึงเป็นการรักษาที่ไม่ได้รับผลข้างเคียง และเป็นการรักษาที่มีประสิทธิภาพ ดังนั้น การทำกายภาพบำบัดจึงเป็นอีกทางเลือกหนึ่ง ที่เหมาะแก่การรักษา และการฟื้นฟูเป็นอย่างยิ่ง   การทำกายภาพบำบัดคืออะไร? กายภาพบำบัด (Physical therapy: PT) เป็นการฟื้นฟู และเสริมสร้างความสามารถในการใช้ร่างกายด้วยเทคนิคต่างๆ เช่น การดึง นวด ประคบ ร่วมกับการบริหารร่างกายสำหรับผู้ที่ได้รับบาดเจ็บ มีอาการปวด หรือได้รับผลข้างเคียงจากอาการเจ็บป่วยจนทำกิจวัตรประจำวันได้ไม่เต็มที่ เทคนิคและวิธีการต่างๆ ของกายทำกายภาพบำบัดจะปฎิบัติตามหลักวิทยาศาสตร์ ซึ่งสามารถแบ่งการทำกายภาพบำบัดได้หลายสายงาน เช่น กายภาพบำบัดระบบกระดูกและกล้ามเนื้อ กายภาพบำบัดด้านระบบประสาท กายภาพบำบัดด้านระบบทรวงอกหลอดเลือดและหัวใจ กายภาพบำบัดด้านกีฬา กายภาพบำบัดในชุมชน งานกายภาพบำบัดด้านอื่นๆ โดยการทำกายภาพบำบัดแต่ละสายงานนี้ ก็จะมีวิธีการทำ อุปกรณ์ และจุดประสงค์แตกต่างกันออกไป ขึ้นอยู่กับผู้ใช้บริการ ซึ่งนักกายภาพบำบัดจะเป็นผู้แนะนำให้นั่นเอง   การทำกายภาพบำบัดช่วยอะไรได้บ้าง? การทำกายภาพบำบัดมีจุดประสงค์หลักเพื่อฟื้นฟูร่างกาย และเสริมสร้างความสามาถในการใช้ร่างกาย เพื่อให้ใช้ชีวิตประจำวันได้ดีขึ้น ดังนั้นการทำกายภาพบำบัดจะมุ่งเน้นที่การบรรเทาอุปสรรคที่ส่งผลต่อการใช้ร่างกายของคุณ อาจมีดังนี้ บรรเทาอาการปวด ป้องกัน หรือฟื้นฟูร่างกายจากการบาดเจ็บ ป้องกันความพิการ หรือลดโอกาสที่จะต้องผ่าตัด ป้องกันการล้มหรือลื่น โดยทำให้ร่างกายมีความสมดุลมากขึ้น […]

Influenza Vaccine วัคซีนไข้หวัดใหญ่

  จากข้อมูลขององค์การอนามัยโลกพบว่าทั่วโลก มีผู้เสียชีวิตจากโรคไข้หวัดใหญ่ ถึงปีละ 250,000 – 500,000 คน ในขณะที่ประเทศไทยมีผู้ป่วยเป็นไข้หวัดใหญ่ในแต่ละปีประมาณ 50,000 คน ในปีที่มีการระบาดมากจะพบได้ถึง 70,000 คน ไข้หวัดใหญ่จะมีอาการรุนแรงกว่าไข้หวัดปกติ ผู้ป่วยโรคไข้หวัดใหญ่จะมีความเสี่ยงต่ออาการโรคประจำตัวกำเริบและภาวะแทรกซ้อน ซึ่งรวมถึงภาวะปอดบวม หลอดลมอักเสบ หรือมีผลกระทบรุนแรงต่อระบบหัวใจ หลอดเลือด และระบบประสาทจนถึงขั้นเสียขีวิตได้ วัคซีนไข้หวัดใหญ่ (Influenza Vaccine) วัคซีนไข้หวัดใหญ่มีอยู่ 2 แบบด้วยกัน คือ วัคซีนไข้หวัดใหญ่ชนิด 3 สายพันธุ์ (เชื้อไวรัสชนิดสายพันธุ์ A 2 สายพันธุ์ และสายพันธุ์ B 1 สายพันธ์) และวัคซีนไข้หวัดใหญ่ชนิด 4 สายพันธุ์ (เชื้อไวรัสชนิดสายพันธุ์ A 2 สายพันธุ์ และสายพันธุ์ B 2 สายพันธุ์) ซึ่งส่วนใหญ่ทางโรงพยาบาลจะแนะนำให้ฉีดวัคซีนป้องกันไข้หวัดใหญ่ชนิด 4 สายพันธุ์ เนื่องจากไวรัสไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ A […]

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

Privacy Preferences

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

Allow All
Manage Consent Preferences
  • Always Active

Save

Thaiinter Hospital

First Western

TMC Hospital

Zasinar Clinic